ReadyPlanet.com
dot dot
dot
Log in
ชื่อผู้ใช้ :
รหัสผ่าน :
เข้าสู่ระบบอัตโนมัติ :
bullet ลืมรหัสผ่าน
bullet สมัครสมาชิก
dot
dot
ฟรี...ประเมินความเสี่ยง เลือกจากรายการด้านล่าง
dot
dot
Food Safety Risk
dot
bulletรายงานประเมินความเสี่ยง (ตัวอย่าง)
bulletคำแนะนำการกรอกแบบฟอร์ม
bulletกรอกแบบฟอร์ม
dot
Disease Risk
dot
bulletรายงานประเมินความเสี่ยง (ตัวอย่าง)
bulletคำแนะนำการกรอกแบบฟอร์ม
bulletกรอกแบบฟอร์ม
dot
ลงทะเบียนรับข่าวสาร

dot
dot
Search ในบทความ

dot
สมาชิกที่กำลัง login
ยังไม่มีสมาชิกที่ล็อกอินในขณะนี้
bulletบุคคลทั่วไป 8 คน
dot
ขอต้อนรับสมาชิกใหม่
สมาชิกใหม่ขณะนี้ คน
dot
Advertising
dot
bulletContact info.
dot
Sponsor
dot
bulletIntelnovation Company Limited




สวทช. จัด Roadshow ระดมนักวิจัยด้านการประเมินความเสี่ยง article
วันที่ 11/12/2009   19:12:15

การประชุม

เรื่อง  “โปรแกรมวิจัยพัฒนาและนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร
และการสร้างกลุ่มวิจัยด้านประเมินความเสี่ยงในผลิตภัณฑ์อาหาร”
ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552
ณ ห้องประชุม อาคารวิชาการ สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร 
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี  จ.นครราชสีมา
หลักการและเหตุผล
อาหารเป็นสินค้าที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อประเทศ ทั้งบริบทของการสร้างรายได้ในมุมของการจ้างงานและ การส่งออก และบริบทด้านความปลอดภัยและสุขภาพของประชาชน ในสองสามปีที่ผ่านมานั้น ประเทศไทยมี GDP  ที่ได้จากมูลค่าผลิตภัณฑ์อาหารประมาณ 10-13% และประเทศไทยยังเป็นผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์อาหารลำดับต้นๆของโลก   โดยมีสินค้าผลิตภัณฑ์อาหารที่ส่งออกที่สำคัญได้แก่ ผลิตภัณฑ์ประมง ข้าว มันสำปะหลัง ผลิตภัณฑ์เนื้อไก่ ผักและผลไม้เป็นต้น
อย่างไรก็ตามในปัจจุบันไทยต้องเผชิญกับการแข่งขันที่รุนแรงจากประเทศเพื่อนบ้านซึ่งได้พัฒนาศักยภาพการผลิตและต้นทุนที่ต่ำกว่า และปัญหาเศรษฐกิจที่ชะลอตัวทั่วโลกซี่งเป็นผลทำให้ปริมาณการซื้อขายลดลง เพราะฉะนั้นการที่จะทำให้ประเทศไทยสามารถยืนหยัดอยู่ในเวทีการค้าผลิตภัณฑ์อาหารได้ ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผลิตได้ต้องมีคุณภาพที่สูง ปลอดภัย และได้มาตรฐานสุขอนามัย และวิธีหนึ่งที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพอาหารให้มีความปลอดภัยและมีมาตรฐานที่ยอมรับได้เป็นสากลนั้น คืองานวิจัยที่เกี่ยวกับความปลอดภัยอาหาร (Food Safety) และความสามารถในการจัดทำการประเมินการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ซึ่งเป็นข้อมูลวิทยาศาสตร์ที่สามารถนำมาอ้างอิงในการเจรจาต่อรองการค้า และการกำหนดมาตรฐานในระดับสากลได้ นอกจากนี้การประเมินความเสี่ยงยังเป็นข้อมูลที่จำเป็นต่อการวิจัยมาตรฐานคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร เพื่อกำหนดมาตรฐานอาหารที่ยังไม่มีมาตรฐานรองรับหรือปรับปรุงมาตรฐานอาหารที่มีอยู่แล้วให้ดียิ่งขึ้นอีกด้วย
            การจัดประชุมสัมมนาวิชาการในครั้งนี้จะเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาบุคลากรและสร้างเครือข่ายนักวิจัยด้านความปลอดภัยอาหาร เพื่อสนับสนุนให้เกิดการวิจัยและพัฒนาด้านการประเมินความเสี่ยงและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์อาหาร และพัฒนากลยุทธ์ในการบริหารจัดการระบบความเสี่ยงอาหารที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย
วัตถุประสงค์
1.   เพื่อประชาสัมพันธ์การให้ทุนสนับสนุนการวิจัยของโปรแกรมวิจัยพัฒนาและนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร
2.   เพื่อเผยแพร่ความรู้เชิงวิชาการด้านการประเมินความเสี่ยงจากจุลินทรีย์ปนเปื้อนได้ตามหลักของสากลและรู้จักการใช้เทคนิค/เครื่องมือที่สามารถนำมาใช้ในการประเมินความเสี่ยงได้
3.   เพื่อส่งเสริมงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับอาหารปลอดภัยและการประเมินความเสี่ยงในอาหาร โดยเน้นเฉพาะการสร้างเครือข่ายกลุ่มนักวิจัยด้านการประเมินความเสี่ยงในผลิตภัณฑ์อาหารของประเทศ    
 
กลุ่มเป้าหมาย
นักวิจัยและนักวิชาการจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชน คณาจารย์ที่ดำเนินงานวิจัยที่เกี่ยวข้องหรือสนใจด้าน การวิจัยและพัฒนาด้านอาหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการประเมินความเสี่ยงในผลิตภัณฑ์อาหาร
 
 
รายละเอียดโปรแกรม
 
09:00 - 09:15            กล่าวเปิดการประชุม
                             
09:15 - 09:35            โปรแกรมการวิจัยพัฒนาและนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร (B 1-3) (Road Show)
                              ภายใต้คลัสเตอร์อาหารและการเกษตร / CPMO สวทช.
                              โดย      ดร. รุจ วัลยะเสวี        เจ้าภาพโปรแกรม
                                        ขอบเขตของโปรแกรม
1.       ความปลอดภัยอาหาร : การประเมินความเสี่ยง(จุลชีววิทยาและเคมี) ชุดตรวจวินิจฉัยและการตรวจสอบย้อนกลับ
2.       การวิจัยและพัฒนาอาหารเพื่อสุขภาพ
3.       การพัฒนากระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ใหม่ (Process and Product Development)
 
09:35 - 10:45            การประเมินความเสี่ยงด้านจุลชีววิทยา: case studies of salmonella in broiler meat
                              โดย       นายศุภชัย เนื้อนวลสุวรรณ
                                          คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                        click เพื่อ download  QMRA Salmonella
 
10:45 - 11:00            พักรับประทานอาหารว่าง
 
11.00 - 12.00            ซักถามข้อสงสัย / แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น
                              เริ่มการประชุมโต๊ะกลมสร้างกลุ่มเครือข่ายนักวิจัยด้านการประเมินความเสี่ยงในผลิตภัณฑ์อาหาร
- กลุ่มนักวิจัยการประเมินความเสี่ยงด้านจุลชีววิทยา
                                        - กลุ่มนักวิจัยการประเมินความเสี่ยงด้านเคมี
 
12.00 - 13.00            พักรับประทานอาหารกลางวัน
 
13:00- 15.00             การประชุมโต๊ะกลมสร้างกลุ่มเครือข่ายนักวิจัยการประเมินความเสี่ยงในผลิตภัณฑ์อาหาร   (ต่อ)            
 
15.00 - 15.30            สรุปนำเสนอผลการประชุมโต๊ะกลม และ ปิดประชุม
                   Click เพื่อ download แผนที่ Map NSTDA



What's new ?

รับสมัครพนักงานมหาวิทยาลัย ตำแหน่งอาจารย์ วันที่ 20/01/2015   13:20:49
oral presentation in JITMM วันที่ 16/10/2012   10:36:23
Abstract in PACCON 2013 วันที่ 08/10/2012   09:46:50
GUIDELINES FOR RISK ANALYSIS OF FOODBORNE ANTIMICROBIAL RESISTANCE วันที่ 21/09/2012   10:24:37
การสื่อสารความเสี่ยง วันที่ 16/09/2012   14:25:42
อาจารย์ศุภชัย รับเชิญเป็นวิทยากร รับการเยือน Lao PDR วันที่ 16/09/2012   14:01:19
วิทยากรอบรม ณ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร วันที่ 16/09/2012   14:02:18
สัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์มเลี้ยงสัตว์ วันที่ 08/10/2012   09:06:16
Workshop on Effective Food Allergen Management วันที่ 22/03/2012   09:24:03
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การประเมินความเสี่ยงในผลิตภัณฑ์อาหาร รุ่น 2 วันที่ 23/03/2012   09:29:57 article
เจาะประเด็นการวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงในอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ สัตว์ปีก อาหารทะเล วันที่ 14/10/2010   15:08:55
โครงการอบรมการควบคุมโรคและการประเมินความเสี่ยงอาหารและประเมินความเสี่ยงโรคสัตว์ วันที่ 22/08/2010   12:48:03 article
การประชุม "โปรแกรมวิจัยพัฒนาและนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร และการสร้างกลุ่มวิจัยด้านประเมินความเสี่ยงอาหาร" วันที่ 26/05/2010   05:58:55
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การประเมินความเสี่ยงในผลิตภัณฑ์อาหาร วันที่ 07/05/2010   15:41:06
อบรมประเมินความเสี่ยงอาหารและโรคสัตว์ ที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 22/02/2010   12:25:02
ใช้เทคโนโลยีความดันสูงทำลายเชื้อฯ เพิ่มช่องทางส่งออกไก่สดแช่แข็ง วันที่ 13/06/2011   17:23:12
FRH อบรม "ประเมินความเสี่ยงอาหาร" ในงาน NAC 2010 วันที่ 23/03/2012   09:26:12
สวทช. เจ้าภาพจัดการประชุมโต๊ะกลม เรื่อง การประเมินความเสี่ยง วันที่ 01/02/2010   10:55:05
อบรมประสิทธิภาพของยาฆ่าเชื้อ วันที่ 03/04/2013   09:14:31 article
Roadmap 15 วันที่ 20/02/2012   08:52:13
การอบรมการประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณ วันที่ 08/11/2010   06:02:25



Copyright © 2010 All Rights Reserved.